Food Safety System Certification 22000 (FSSC 22000) Version 6.0 Requirement &Internal audit

Food Safety System Certification 22000 (FSSC 22000) Version 6.0 Requirement &Internal audit

หลักสูตรข้อกำหนดและการตรวจติดตามใช้ระบบบริหารความปลอดภัยอาหาร ฉบับที่ 6.0

หลักการและเหตุผล

โดยหลักสูตรนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อทำให้ผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมได้ทำความเข้าใจและสามารถประยุกต์ใช้ข้อกำหนดและการตรวจติดตามภายใน ของมาตราฐาน FSSC22000 V.6.0 รวมทั้งองค์กรที่ผ่านการรับรองมาตรฐานนี้แล้วต้องการเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลงที่จะมีผลบังคับใช้เป็นที่เรียบร้อย

วัตถุประสงค์หลักสูตร

  • เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงข้อกำหนดที่มีการปรับเปลี่ยนจาก version 6.0
  • เพื่อให้ทีมพร้อมรับการตรวจแบบ Un-announce audit กันทุกส่วนขององค์กร
  • เพื่อให้ผู้เข้าเรียนสามารถประยุกต์ใช้ข้อกำหนดต่างๆ เพื่อสามารถทำระบบรองรับการตรวจประเมิน
  • เพื่อใช้เป็นแนวทางในการตรวจประเมินภายในการวางแผนการตรวจ, เข้าใจถึงเทคนิคในการตรวจประเมิน การตั้งคำถาม, การสัมภาษณ์,การสุ่มตัวอย่างและการรวบรวมหลักฐานในการตรวจประเมิน

รายละเอียดหลักสูตร

วันที่ 1
9.00 – 16.00

ทบทวนข้อกำหนด FSSC22000 v 6.0 (เน้นข้อกำหนดที่ปรับเปลี่ยน)

  • ข้อกำหนดและการประยุกต์ใช้ FSSC22000  ( ISO22000 :2018 Food safety Management System )
  • ข้อกำหนดและการประยุกต์ใช้ FSSC22000  (ส่วนที่ Prerequisite Programmes ISO/TS22002-1 : 2019- ข้อกำหนดและการประยุกต์ใช้ FSSC22000  (ส่วนที่ 3 ข้อกำหนดส่วนเพิ่มของ FSSC22000 )
    2.5.1 การจัดการงานบริการและ วัสดุที่ซื้อ(ทุกหมวดห่วงโซ่อาหาร)
    2.5.2 ฉลากผลิตภัณฑ์และสื่อสิ่งพิมพ์ (หมวดห่วงโซ่อาหารทั้งหมด)
    2.5.3 การป้องกันอาหาร (หมวดห่วงโซ่อาหารทั้งหมด)
    2.5.4 แผนบรรเทาเรื่องอาหารปลอม (หมวดห่วงโซ่อาหารทั้งหมด)
    2.5.5 การใช้ Logo (ทุกหมวดห่วงโซ่อาหาร)
    2.5.6 การจัดการสารก่อภูมิแพ้ (ทุกหมวดห่วงโซ่อาหาร)
    2.5.7 การติดตามตรวจสอบสิ่งแวดล้อม (หมวดห่วงโซ่อาหาร BIII, C, I & K)
    2.5.8 วัฒนธรรมความปลอดภัยและคุณภาพอาหาร (ทุกหมวดห่วงโซ่อาหาร)
    2.5.9 การควบคุมคุณภาพ (ทุกหมวดห่วงโซ่อาหาร)
    2.5.10 การขนส่ง การจัดเก็บและการจัดเก็บ (ทุกประเภทโซ่อาหาร)
    2.5.11 การควบคุมอันตรายและมาตรการในการป้องกันการปนเปื้อนข้าม (ทุกประเภทโซ่อาหาร ยกเว้น FII)
    2.5.11 การควบคุมอันตรายและมาตรการในการป้องกันการปนเปื้อนข้าม (ทุกประเภทโซ่อาหาร ยกเว้น FII)
    2.5.13 การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (หมวดโซ่อาหาร  BIII, C, D, E, F, I & K)
    2.5.14 สถานะสุขภาพ (หมวดโซ่อาหาร D)
    2.5.15 การจัดการอุปกรณ์ (หมวดห่วงโซ่อาหารทั้งหมด ยกเว้น FII)
    2.5.16 การสูญเสียอาหารและของเสีย (หมวดห่วงโซ่อาหารทั้งหมด ยกเว้น I)
    2.5.17 ข้อกำหนดสำหรับการสื่อสาร (ทุกประเภทโซ่อาหาร)
    2.5.18  ข้อกำหนดสำหรับองค์กรที่มีการรับรองสถานที่ผลิตมากกว่า 1  สาขา

วันที่ 2
9.00 – 16.00

  • หลักการการตรวจประเมินภายใน และคุณสมบัติผู้ตรวจประเมินภายใน
  • การวางแผนการตรวจประเมิน
  • การเตรียมตัวการตรวจประเมิน แนวทางการจัดทำรายการตรวจประเมิน (Audit Checklist)
  • กระบวนการตรวจประเมิน และเทคนิคการตรวจประเมิน

Workshop การตรวจประเมินภายในทบทวนข้อกำหนด ข้อกำหนดและการประยุกต์ใช้

  • การเตรียมตัวการตรวจประเมิน แนวทางการจัดทำรายการตรวจประเมิน (Audit Checklist) (ต่อ)
  • กระบวนการตรวจประเมิน และเทคนิคการตรวจประเมิ Workshop ออก CARs
16:00 - 16:30 สรุปประเด็น การเสนอแนะแนวทางการจัดทำระบบ และการถามตอบ

ผู้ที่เหมาะสมเข้ารับการอบรม

ผู้บริหาร, หัวหน้างาน, คณะทำงานด้านการจัดการระบบบริหาร, ทีมตรวจติดตามคุณภาพภายใน, เจ้าหน้าที่ควบคุมคุณภาพ,เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหารและบรรจุภัณฑ์และพนักงานระดับชั้น

ติดต่อสอบถามข้อมูล

รายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อที่

โทร : +66 (0)63 187 9718

อีเมล : eqa.training@equalassurancethai.com

ติดตามกิจกรรมต่างๆ ได้ที่ facebook.com/equal.assurance.co.th